วัดธรรมิกราช (พระนครศรีอยุธยา)

หน้าแรก » จังหวัดพระนครศรีอยุธยา » อำเภอพระนครศรีอยุธยา » วัดธรรมิกราช (พระนครศรีอยุธยา)
แบ่งปันไปยัง : แบ่งปันไปยัง facebook
 อัพเดต : 12 มิถุนายน 2560

วัดธรรมิกราช เดิมชื่อ วัดมุขราช ตั้งอยู่ใน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดกับพระราชวังโบราณ และวัดพระศรีสรรเพชญ์ ปัจจุบันยังเป็นวัดที่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาและปฏิบัติธรรมอยู่

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_1

เมื่อพระเจ้าสายน้ำผึ้ง สร้างวัดพนัญเชิงนั้น พระราชโอรส คือพระเจ้าธรรมิกราช โปรดให้สร้างวัดนี้ขึ้นที่บริเวณเมืองเก่าชื่อเมืองอโยธยาศรีรามเทพนคร ทางหน้าประตูด้านทิศเหนือคือ พระเจดีย์สิงห์ล้อม 52 ตัวที่แตกต่างไปจากเจดีย์ทั่วไป นับเป็นพระเจดีย์สิงห์แห่งเดียวในพระนครศรีอยุธยา ก่อนสร้างกรุงศรีอยุธยา ในสมัยต่อมา พระมหากษัตริยได้ทรงบูรณะมาโดยตลอด โดยสังเกตจากร่องรอยการซ่อม และพื้นที่ของวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกของพระนครฯ ตามคติโบราณถือว่าเป็นทิศมงคล ในสมัยสมเด็จพระไตรโลกนาถทรงธรรม (พ.ศ. 2153) ทรงบูรณะวัด และสร้างพระวิหารหลวง เพื่อฟังธรรมในวันธรรมสวนะ (วันพระ) สำหรับพระวิหารพระพุทธไสยยาสน์ (พระนอน) นั้น พระราชมเหสีของพระองค์มีพระราชธิดาประชวร ทรงอธิษฐานไว้เมื่อพระราชธิดาหายแล้วจึงสร้างพระวิหารถวาย น้ำพระพุทธมนต์ในพระวิหารนี้กล่าวกันว่ามี ความศักดิ์สิทธิ์มากมีประชาชนมาอธิษฐาน ขอไปใช้ตามความปรารถนาจำนวนมาก

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_2

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_3

ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอุทุมพรผนวชที่วัดนี้พร้อมด้วยมหาดเล็กชื่อนายหง โดยตั้งพระทัยว่าถ้าบ้านเมืองเกิดศึกจะออกไปช่วยรบ ต่อมาเมื่อทัพข้าศึกยกมาถึงตำบลภูเขาทอง นายหงลาสิกขาก่อนออกรบและแตกพ่ายไปเข้ากับพระยาตาก (สิน) เมื่อกู้อิสรภาพแล้วต่อมาได้รับพระราชทานเป็นพระยาเพชรพิชัยจนต่อสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ บุตรของพระยาเพชรพิชัยที่รับราชการต่อมาก็เป็นพระยาเพชรพิชัยสืบมา จนสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ภริยาพระยาเพชรพิชัยตามเสด็จมาที่วัดเกิดศรัทธาจึงบูรณะวัดขึ้น ในสมัยที่พระครูธรรมิกาจารคุณ (ฟัก) เป็นเจ้าอาวาส โดยบูรณะพระอุโบสถและพระวิหารใหม่และจะขอพระราชทานเป็นพระอารามหลวง แต่ยังไม่เสร็จเรียบร้อยดีสวรรคตก่อน มีสถานที่ตั้งเครื่องรับเสด็จและบ่อน้ำโบราณศักดิ์สิทธิ์ของวัด ประมาณปี 2484 พระอุโบสถเดิมพระประธานเป็นศิลปสมัยรัตนโกสินทร์เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปิดทอง ผนังด้านตะวันออกเขียนเป็นภาพพุทธประวัติโดยนายช่างแข ก่อนจะทรุดตัวลง หลังคาได้ทรุดลงมาก่อนทางวัดได้มุงสังกระสีไว้ ยังไม่ทันบูรณะผนังพระอุโบสถก็ทรุดพังลง ทางวัดเตรียมการจะบูรณะ แต่ทางกรมศิลปากรได้เข้ามาซ่อมแทน เดิมเขตกฎีสงฆ์ที่เป็นเขตสังฆาวาสนั้นอยู่หลังพระอุโบสถติดกับศาลพระเจ้าธรรมิกราช สมัยที่นายปรีดีพนมยงค์สร้างวัดพนมยงค์นั้น เริ่มทำการบูรณะพระวิหารมงคลบพิตรแล้วจะนำช่างชุดเดียวกันมาบูรณะ วัดธรรมิกราชต่อ แต่มีเหตุการณ์ทางการเมืองเกิดขึ้น ต่อมาสมัยจอมพลแปลกพิบูลสงคราม เป็นนายก ฯ ได้มาสร้างกำแพงวัดปูพื้นพระวิหารพระนอนและกุฏิสงฆ์ ยังไม่แล้วเสร็จก็เกิดเหตุทางการเมืองขึ้นอีกจนกรมศิลปากรเข้ามาดำเนินการต่อ

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_4

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_5

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_6

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_7

เศียรพระพุทธรูปหล่อสำฤทธิ์เป็นศิลปะสมัยอู่ทอง เดิมอยู่ในวิหารหลวงมีความศักดิ์สิทธิ์มาก กล่าวว่าผู้ใดเป็นคดีความกันมาสาบานต่อหน้าพระพักตร์คนผิดต้องตายหรือมีอันเป็นไปทุกคนเป็นที่กล่าวขานกันมาก สมัยที่พระยาโบราณราชธานินทร์ เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ในพระราชวังจันทรเกษม ได้นำเศียรพระพุทธรูปนี้ไป ต่อมากรมศิลปากรจึงนำไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์เจ้าสามพระยา ความศักดิ์สิทธิ์จึงคลายไป

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_8

วัดธรรมิกราช (พระนครศรีอยุธยา) เปิดให้เข้าทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-16.30 น.

ขอขอบคุณข้อมูลจาก : th.wikipedia.org

วัดธรรมิกราช เดิมชื่อ วัดมุขราช ตั้งอยู่ใน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดกับพระราชวังโบราณ และวัดพระศรีสรรเพชญ์ ปัจจุบันยังเป็นวัดที่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาและปฏิบัติธรรมอยู่

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_1

เมื่อพระเจ้าสายน้ำผึ้ง สร้างวัดพนัญเชิงนั้น พระราชโอรส คือพระเจ้าธรรมิกราช โปรดให้สร้างวัดนี้ขึ้นที่บริเวณเมืองเก่าชื่อเมืองอโยธยาศรีรามเทพนคร ทางหน้าประตูด้านทิศเหนือคือ พระเจดีย์สิงห์ล้อม 52 ตัวที่แตกต่างไปจากเจดีย์ทั่วไป นับเป็นพระเจดีย์สิงห์แห่งเดียวในพระนครศรีอยุธยา ก่อนสร้างกรุงศรีอยุธยา ในสมัยต่อมา พระมหากษัตริยได้ทรงบูรณะมาโดยตลอด โดยสังเกตจากร่องรอยการซ่อม และพื้นที่ของวัดที่อยู่ทางทิศตะวันออกของพระนครฯ ตามคติโบราณถือว่าเป็นทิศมงคล ในสมัยสมเด็จพระไตรโลกนาถทรงธรรม (พ.ศ. 2153) ทรงบูรณะวัด และสร้างพระวิหารหลวง เพื่อฟังธรรมในวันธรรมสวนะ (วันพระ) สำหรับพระวิหารพระพุทธไสยยาสน์ (พระนอน) นั้น พระราชมเหสีของพระองค์มีพระราชธิดาประชวร ทรงอธิษฐานไว้เมื่อพระราชธิดาหายแล้วจึงสร้างพระวิหารถวาย น้ำพระพุทธมนต์ในพระวิหารนี้กล่าวกันว่ามี ความศักดิ์สิทธิ์มากมีประชาชนมาอธิษฐาน ขอไปใช้ตามความปรารถนาจำนวนมาก

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_2

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_3

ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยา พระเจ้าอุทุมพรผนวชที่วัดนี้พร้อมด้วยมหาดเล็กชื่อนายหง โดยตั้งพระทัยว่าถ้าบ้านเมืองเกิดศึกจะออกไปช่วยรบ ต่อมาเมื่อทัพข้าศึกยกมาถึงตำบลภูเขาทอง นายหงลาสิกขาก่อนออกรบและแตกพ่ายไปเข้ากับพระยาตาก (สิน) เมื่อกู้อิสรภาพแล้วต่อมาได้รับพระราชทานเป็นพระยาเพชรพิชัยจนต่อสมัย กรุงรัตนโกสินทร์ บุตรของพระยาเพชรพิชัยที่รับราชการต่อมาก็เป็นพระยาเพชรพิชัยสืบมา จนสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ภริยาพระยาเพชรพิชัยตามเสด็จมาที่วัดเกิดศรัทธาจึงบูรณะวัดขึ้น ในสมัยที่พระครูธรรมิกาจารคุณ (ฟัก) เป็นเจ้าอาวาส โดยบูรณะพระอุโบสถและพระวิหารใหม่และจะขอพระราชทานเป็นพระอารามหลวง แต่ยังไม่เสร็จเรียบร้อยดีสวรรคตก่อน มีสถานที่ตั้งเครื่องรับเสด็จและบ่อน้ำโบราณศักดิ์สิทธิ์ของวัด ประมาณปี 2484 พระอุโบสถเดิมพระประธานเป็นศิลปสมัยรัตนโกสินทร์เป็นพระพุทธรูปปูนปั้นปิดทอง ผนังด้านตะวันออกเขียนเป็นภาพพุทธประวัติโดยนายช่างแข ก่อนจะทรุดตัวลง หลังคาได้ทรุดลงมาก่อนทางวัดได้มุงสังกระสีไว้ ยังไม่ทันบูรณะผนังพระอุโบสถก็ทรุดพังลง ทางวัดเตรียมการจะบูรณะ แต่ทางกรมศิลปากรได้เข้ามาซ่อมแทน เดิมเขตกฎีสงฆ์ที่เป็นเขตสังฆาวาสนั้นอยู่หลังพระอุโบสถติดกับศาลพระเจ้าธรรมิกราช สมัยที่นายปรีดีพนมยงค์สร้างวัดพนมยงค์นั้น เริ่มทำการบูรณะพระวิหารมงคลบพิตรแล้วจะนำช่างชุดเดียวกันมาบูรณะ วัดธรรมิกราชต่อ แต่มีเหตุการณ์ทางการเมืองเกิดขึ้น ต่อมาสมัยจอมพลแปลกพิบูลสงคราม เป็นนายก ฯ ได้มาสร้างกำแพงวัดปูพื้นพระวิหารพระนอนและกุฏิสงฆ์ ยังไม่แล้วเสร็จก็เกิดเหตุทางการเมืองขึ้นอีกจนกรมศิลปากรเข้ามาดำเนินการต่อ

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_4

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_5

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_6

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_7

เศียรพระพุทธรูปหล่อสำฤทธิ์เป็นศิลปะสมัยอู่ทอง เดิมอยู่ในวิหารหลวงมีความศักดิ์สิทธิ์มาก กล่าวว่าผู้ใดเป็นคดีความกันมาสาบานต่อหน้าพระพักตร์คนผิดต้องตายหรือมีอันเป็นไปทุกคนเป็นที่กล่าวขานกันมาก สมัยที่พระยาโบราณราชธานินทร์ เป็นสมุหเทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า จัดตั้งพิพิธภัณฑ์ในพระราชวังจันทรเกษม ได้นำเศียรพระพุทธรูปนี้ไป ต่อมากรมศิลปากรจึงนำไปไว้ที่พิพิธภัณฑ์เจ้าสามพระยา ความศักดิ์สิทธิ์จึงคลายไป

วัดธรรมิกราช(วัดมุขราช)_8

วัดธรรมิกราช (พระนครศรีอยุธยา) เปิดให้เข้าทุกวัน ตั้งแต่เวลา 08.30-16.30 น.

ขอขอบคุณข้อมูลจาก : th.wikipedia.org

Tag : วัดธรรมิกราช ,วัดมุขราช ,พระนครศรีอยุธยา,ไหว้พระ,ไหว้พระในจังหวัดอยุธยา,วัด,วัดในอยุธยา

แหล่งท่องเที่ยวอื่นๆในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

วัดพระศรีสรรเพชญ์

วัดพระศรีสรรเพชญ์

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดพระศรีสรรเพชญ์ หรือ วัดพระศรีสรรเพชญ เป็นวัดหลวงในพระราชวังโบราณ อยุธยา ไม่มีพระสงฆ์จำพรรษา ซึ่งเป็นต้นแบบของ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร
วัดใหญ่ชัยมงคล

วัดใหญ่ชัยมงคล

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เดิมชื่อ "วัดป่าแก้ว" หรือ "วัดเจ้าไท" จุดเด่นของวัดได้แก่เจดีย์องค์ใหญ่ที่เชื่อกันว่า ได้รับการปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ปัจจุบันมีการสร้างพระตำหนักสมเด็จพระนเรศวรมหาราช มีผู้นิยมไปนมัสการอย่างสม่ำเสมอเป็นจำ
วัดพนัญเชิงวรวิหาร

วัดพนัญเชิงวรวิหาร

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นวัดที่มีประวัติอันยาวนาน ก่อสร้างก่อนการสถาปนากรุงศรีอยุธยา มีพระพุทธไตรรัตนนายก หรือหลวงพ่อซำปอกง เป็นพระพุทธรูปขนาดใหญ่ และใหญ่ที่สุดในพระนครศรีอยุธยา
วัดมหาธาตุ

วัดมหาธาตุ

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ตั้งอยู่เชิงสะพานป่าถ่าน ทางทิศตะวันออกของวัดพระศรีสรรเพชญ์ วัดมหาธาตุเป็นวัดที่มีความสำคัญยิ่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะเป็นวัดที่ประดิษฐานพระบรมธาตุใจกลางพระนคร และวัดมหาธาตุนี้ก็ได้ถูกทำลายลงหลังจากสงครามการเสียกรุงในครั้งที่ 2
วัดธรรมิกราช (พระนครศรีอยุธยา)

วัดธรรมิกราช (พระนครศรีอยุธยา)

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดธรรมิกราช เดิมชื่อ วัดมุขราช ตั้งอยู่ใน อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ติดกับพระราชวังโบราณ และวัดพระศรีสรรเพชญ์ ปัจจุบันยังเป็นวัดที่มีพระภิกษุสงฆ์จำพรรษาและปฏิบัติธรรมอยู่
วัดพุทไธศวรรย์

วัดพุทไธศวรรย์

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ประชาชนกราบขอพรจากองค์จตุคามรามเทพ และถ่ายรูปตามรอยละครดังเรื่อง บุพเพสันนิวาส
วัดโลกยสุธาราม

วัดโลกยสุธาราม

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
สร้างมาตั้งแต่สมัยอยุธยาตอนต้น และมีการใช้ประโยชน์พื้นที่ภายในวัดเรื่อยมาจนถึงสมัยอยุธยาตอนปลาย
วัดหน้าพระเมรุราชิการาม

วัดหน้าพระเมรุราชิการาม

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไม่ถูกพม่าทำลาย และยังคงสภาพที่ดีมาก พระประธานในอุโบสถซึ่งสร้างปลายสมัยอยุธยา เป็นพระพุทธรูปทรงเครื่องหล่อสำริดขนาดใหญ่
วัดไชยวัฒนาราม

วัดไชยวัฒนาราม

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นพระอารามหลวงสมัยอยุธยา มีอาคารทรงปราสาทยอดอยู่กึ่งกลางและมุมของระเบียงคดแต่ละด้าน รูปแบบสถาปัตยกรรมต่างๆ ตลอดจนแผนผังในการก่อสร้างโบราณสถานภายในวัด
คุ้มขุนแผน

คุ้มขุนแผน

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
คุ้มขุนแผน ตั้งอยู่ที่ถนนป่าโทน ในตัวเมืองอยุธยา สร้างขึ้นเพื่ออนุรักษ์บ้านของขุนนางในสมัยก่อนไว้ให้ชนรุ่นหลังได้มาศึกษาสถาปัตยกรรมแบบโบราณ
เจดีย์ภูเขาทอง วัดภูเขาทองอยุธยา

เจดีย์ภูเขาทอง วัดภูเขาทองอยุธยา

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พระมหาเจดีย์เป็นสถานที่สำคัญทางพุทธศาสนาที่มีคนเดินทางมากราบไหว้ ดังเช่นที่ปรากฎเป็นนิราศภูเขาทอง ของสุนทรภู่ ที่เดินทางมานมัสการในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ วัดนี้มีพระมาจำพรรษาอีกครั้งนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2500
ปางช้างอยุธยา แล เพนียด

ปางช้างอยุธยา แล เพนียด

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วังช้างอยุธยา แล เพนียด หรือ ปางช้างอยุธยา แล เพนียด ตั้งอยู่ใจกลางเมือง ภายในมีลานพักช้างใหญ่ เป็นโซนพักผ่อนของควาญและช้าง ใครผ่านไปใครผ่านมาก็ป้อนกล้วยอ้อยให้ช้างยื่นงวงมางับได้จากมือ มีกิจกรรมถ่ายรูปคู่กับช้าง
วัดวรเชษฐาราม

วัดวรเชษฐาราม

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
วัดวรเชษฐาราม เป็นวัดที่สำคัญวัดหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา ภายในกำแพงวัดประกอบไปด้วย เจดีย์ประธานทรงลังกาแบบสุโขทัย พระวิหารจำนวน 3 หลัง เชื่อกันว่าน่าจะมีการบรรจุพระอัฐิของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชไว้ภายในเจดีย์องค์ใดองค์หนึ่งภายในวัดนี้
วัดวรโพธิ์

วัดวรโพธิ์

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ภายในวัดประกอบด้วย ปรางค์ประธาน มีระเบียงคตล้อมรอบ ปัจจุบันเหลือให้เห็นเฉพาะฐานเท่านั้น ด้านทิศเหนือของปรางค์ประธานยังคงปรากฏซากของอาคาร วิหารและเจดีย์เหลี่ยม ส่วนทางทิศใต้มีพระวิหารสำหรับประดิษฐานรอยพระพุทธบาทตั้งอยู่
วัดบรมพุทธาราม

วัดบรมพุทธาราม

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
อุโบสถเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ฐานแอ่นโค้งเป็นรูปท้องเรือสำเภา ภายในอุโบสถประดิษฐานพระพุธรูปก่ออิฐถือปูนปางมารวิชัย
วัดแม่นางปลื้ม

วัดแม่นางปลื้ม

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นวัดที่ยังคงความเป็นสถาปัตยกรรมแบบโบราณเป็นอย่างมาก ซุ้มประตูศิลปะอยุธยาแบบโบราณ บรรยากาศภายในวัด มีความร่มรื่นสวยงาม และมีมนต์ขลัง
อนุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

อนุสาวรีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
บริเวณนี้เรียกว่าทุ่งภูเขาทอง ในอดีตเคยเป็นสมรภูมิรบหลายครั้งหลายคราว วีรบุรุษของไทยนับไม่ถ้วนได้เสียสละชีวิตเลือดเนื้อ เพื่อปกป้องแผ่นดิน
วัดญาณเสน

วัดญาณเสน

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นวัดโบราณที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาตอนต้น ครั้งโบราณถัดจากหน้าวัด มีคลองน้ำเชี่ยว เป็นทางสำหรับชักน้ำจากแม่น้ำลพบุรีไปยังบึงพระราม เป็นการถ่ายเทน้ำเพื่อให้บึงพระรามสะอาด
สะพานป่าดินสอและคลองประตูฉะไกรน้อย

สะพานป่าดินสอและคลองประตูฉะไกรน้อย

อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
เป็นสะพานอิฐ พื้นสะพานปูด้วยอิฐตะแคง ใต้สะพานก่ออิฐสันตั้งเป็นลักษณะซุ้มโค้ง สันนิษฐานว่าน่าจะได้รับอิทธิพลจากตะวันตก ตั้งแต่รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
Meo Creamy TreatsLazMall Sponser
[Meo Creamy Treats]
Meo Creamy Treats ปลีก คละรสได้ มีทั้งหมด 11 รสชาติ
฿8.20 
หน้ากากอนามัย Dr. Hygiene 50 ชิ้นLazMall Sponser
[หน้ากากอนามัย Dr. Hygiene 50 ชิ้น]
หน้ากากอนามัย แมส หน้ากากอนามัยทางการแพทย์ แมสปิดจมูก หน้ากาก 3 ชั้น PM2.5 Surgical Face Mask
฿92.00 
อาหารแมว Kaniva (คานิว่า)LazMall Sponser
[อาหารแมว Kaniva (คานิว่า)]
อาหารแมวชนิดเม็ด อาหารแมว ถุง 8kg-10kg แถมฟรี!!! ร่มคานิว่า
฿1279.00 
กระดาษเช็ดหน้า COCOFON Premium OrganicLazMall Sponser
[กระดาษเช็ดหน้า COCOFON Premium Organic]
หนา 2 ชั้น 180 แผ่น แพ็ค 3 ห่อ COCOFON Premium Organic Tissue (2Ply) Facial Tissue Pack3
฿94.64 
มามี่โพโค ไวพส์ LazMall Sponser
[มามี่โพโค ไวพส์ ]
ผ้าเปียกนุ่มชุ่มชื่น 80 แผ่น แพ็ค 3
฿189.00 
HOMEC ไม้ถูพื้นพ่นน้ำLazMall Sponser
[HOMEC ไม้ถูพื้นพ่นน้ำ]
ไม้ถูพื้น ไม้ถูพื้นรีดน้ำ ไม้ถูพื้นแบบรีดน้ำ ไม้ถูพื้นสเปรย์ หมุน 360 องศา ฉีดน้ำได้ ฟรีผ้าม็อบ 1 ชิ้น
฿269.00 

แหล่งท่องเที่ยวตามจังหวัด

ที่เที่ยวภาคเหนือ

ที่เที่ยวภาคอีสาน

ที่เที่ยวภาคกลาง

ที่เที่ยวภาคตะวันออก

ที่เที่ยวภาคใต้